fbpx

3 Important Factors Of Rebalancing Portfolio

3 Important Factors Of Rebalancing Portfolio

3-rebalancing-factors

Table of Contents

A few days ago I came across a question from a friend asking,
“Do you have time to explain to me what a rebalancing strategy is and when should I do it?”

 

I simply answered, “It’s the act of realigning your portfolio back to its origin allocation of the assets.”

 

If you ever wonder what often is the cause which helps investors to tolerate the risk they’re probably going to face during the trading trivial, the answer is how they manage their risk.

 

Rebalancing Portfolio is a simple investment technique which is a construction of a portfolio that fits individual risk tolerance and investment goals and has been used in traditional investment for decades.

Advantages of Rebalancing Portfolio

“First you must find what type of rebalancing will suit you best.”

 

There are two types of rebalancing, the first one is periodic-based and the second is threshold. Rebalancing your portfolio involves selling some investments and buying others to restore an investment portfolio that matches your target asset allocation.

Factor 1: “Risk management - the purpose is not because of the best return rate, but because the risk of the portfolio is returned to the planned level.”

Lets see the following example here

 

Assuming the portfolio has 4 different assets and set the level of risk allocation to 25% for each asset, total up to 100% in the portfolio.

 

Let’s say in 24 hours asset A yields 30%, B 20%, C 23%, and D 27%. To rebalance this portfolio is to sell off excess yield then buy back another, the proportion will return to the same level of 25% per assets.

I continue, “This is what is known as periodic rebalancing, you rebalance once depending on the time you presumably take. Also there is another type known as threshold.” I started explaining again.

 

The demonstration of a threshold rebalance depends on the owner’s setting level of how much they want to reset the portfolio which will trigger them when to react. Example when the assets are -+5% on an asset with a 25% target allocation, the rebalance will occur once.

 

 

“A rebalance would happen as soon as one of those assets consumes less than 20% or more than 30% of the portfolio value, referring to the previous example.”

How Rebalancing Portfolio Can Win the Market

When creating an investment portfolio, you should be familiar with the concepts of asset allocation and diversification. When a portfolio consists of different asset classes like governance token, altcoin, stablecoin for instance it’s known as asset allocation.

 

When you distribute your investment funds across different assets or sectors is known as diversification such as consisting of SIX, BTC, DOGE, FINIX and more in the collection. Having a handful of different assets with different characteristics, you are making a reduction of risk for each allocation. 

This figure is one of the examples of a rebalancing scenario conducted by Michael McCarty – Shrimpy Founder, showing a diversified portfolio.

Illustration of evenly distributed portfolios using rebalancing strategies varies from 1 hour, 1 Day, 1 Week, and 1 Month with a Holding portfolio. Returns results ranged from a $40K median with HODL to a $123K median through rebalancing every hour. (Investment of $5,000 value in 1 year.)

Common Rebalance Scenario

⦿ Sideways Movement – a simple sideways movement which takes place for a prolonged period. During this time, there are typically micro fluctuations, although the total value of the portfolio remains relatively flat.

⦿  Pump and Dump  – when a sharp increase in value is followed by a sharp decline in value for an asset. The result is a return to the original price.

pump & dump opportunity

⦿ Flash Crash and Recover – Situation when a sharp value decline followed by a sharp value increase returning to the original price, ending and initial value stays the same.

Expectation Versus Reality And What Action You Can Take

Not all coins are expected to rise or drop in value during the same period. But what you can do best to save your revenue is by protecting the cause of loss and changes that for the opportunity you can take advantage of.

 

“Remember when the market didn’t go as planned and you haven’t gotten any ideas to stop your loss and profit?”, I asked my friend.

 

“Ha ha sure”, she replies.

 

Winning the market is when you can profit in trading of either crypto, forex, or stock in any occurrence of the market scenario. Surely enough it is a hard task to win without a winning strategy. 

Factor 2: Therefore, a rebalanced portfolio is the opportunity cost to buy loss and sell profit of the diversified assets. 

 Most traders and investors are looking to beat the market with larger gains.

 

A highly diversified portfolio will lead to more average returns than a successful concentrated portfolio. Worse performing assets can balance out high earners.

Factor 3: Making suitable portfolio for each investment style and handling uncontrollable situation.

With that information, preparing yourself and using a bit of strategy will go a long way in creating a suitable portfolio for your risk tolerance. Worse case worse like in the situation where Bitcoin crash or wild swings of price within a day or a minute.

Closing Thoughts

1. Risk Management

2. Opportunity to make profit in every interval

3. Handling uncontrollable situations

Are the main important factors you might want to consider when it comes to crypto trading.

 

Rebalancing your portfolio involves selling some investments and buying others to restore an investment portfolio that matches your target asset allocation. It is better off to have a well balanced portfolio than risking it all in a situation which is incredibly volatile.

Thank you for your interest to invest with Definix!
Check out these channels for the latest update from SIX Network.

Stay tuned with us on these channels.

Napathsorn Unchit
Napathsorn Unchit

Passionate about financial world and is an inverstor too! Giving out news update and blog post every month.
Visit us at SIX Network for more.

Related Posts

3 ปัจจัยสำคัญของการทำ Rebalancing Portfolio

3 ปัจจัยสำคัญของการทำ Rebalancing Portfolio

3-rebalancing-factors

Table of Contents

“แย่แล้วตลาดลงรีบเทขายดีกว่า” “อ้าวทำไมขายแล้วมันขึ้นเฉย”
“น่าจะขาขึ้นแล้วมั้งช้อนดีกว่า “อ้าวโดนหลอกอีกแล้วลงเฉย”

 

เชื่อว่าเทรดเดอร์ทุกคนน่าจะเคยผ่านประสบการณ์แบบนี้กันมาบ้างแล้ว กับการซื้อแพงขายถูก ยิ่งเล่นเงินในพอร์ตยิ่งลดลง ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องปกติมาก เพราะการเทรดด้วยตัวเองนั้นมักมีอารมณ์ของเราเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เช่นพอราคาลงเราก็รู้สึกกลัวจนเทขาย หรือตอนราคาขึ้นเรามักจะคิดว่ามันขึ้นต่อ ทำให้การเทรดของเราไม่เป็นระบบระเบียบขึ้นอยู่กับอารมณ์เป็นหลัก

 

ซึ่งการจัดการความเสี่ยงนั้นสามารถทำได้ถ้าหากเราเข้าใจหลักการเล็กน้อย และเป็นสิ่งที่ควรทำความเข้าใจเอาไว้หากว่ายังคงมีความต้องการที่จะอยู่ในวงการเทรดคริปโตต่อไป

 

การทำ Rebalancing หรือการปรับสมดุลพอร์ตโฟลิโอนั้นคือกลยุทธ์ที่ไม่ยุ่งยากเกินความเข้าใจแต่มีวิธีการใช้งานเพื่อปรับให้เหมาะสมได้จึงต้องใช้ความเข้าใจและความสามารถรับต่อความเสี่ยงนั้น ๆ ได้ขอบแต่ละบุคคลนั้นต่างออกไป เพราะการ Rebalancing จะทำการซื้อ หรือขายให้เองอัตโนมัติเมื่อตรงตามเงื่อนไขที่กำหนดเพื่อให้พอร์ตของเรากลับมาสมดุล เช่น ปรับพอร์ตตามเวลา หรือปรับตามอัตราส่วนมูลค่าที่เปลี่ยนไป วิธีนี้นอกจากจะเป็นการจัดการความเสี่ยงที่ดีแล้ว ยังช่วยประหยัดเวลาในการเทรดให้กับนักลงทุนได้อีกด้วย ดังนั้นวิธีนี้จึงเหมาะมาก ๆ กับนักลงทุนที่อยากถือยาว หรือ Value Investment

การ Rebalancing ดียังไงกับพอร์ตของคุณ?

สิ่งสำคัญแรกคือต้องเข้าใจถึงประเภทของการทำ Rebalancing ที่เหมาะสมกับคุณก่อน

 

โดยการทำ Rebalancing จะมีด้วยกันหลัก ๆ อยู่สองประเภทคือ Periodic-based และ Threshold ซึ่งทั้งสองแบบมี action ของการทำการซื้อหรือขายสินทรัพย์เมื่อตรงตามเงื่อนไขที่กำหนดเพื่อให้พอร์ตกลับมาสมดุลเช่น ปรับพอร์ตตามเวลา หรือปรับตามอัตราส่วนมูลค่าที่เปลี่ยนไป

Factor 1: “เป็นการจัดการความเสี่ยงไม่ใช่เพราะผลลัพธ์ที่ดีแต่เพื่อการคงสภาพพอร์ตให้อยู่ภายใต้การจัดการที่เจ้าของสามารถรับความเสี่ยงนั้นได้"

มาดูตัวอย่างด้านล่างนี้เพื่อทำความเข้าใจ


โดย Periodic-based เป็นการ Rebalancing ทุก ๆ ช่วงเวลาที่กำหนด ยกตัวอย่างเช่นเรามี Asset อยู่ 4 เหรียญได้แก่ A B C และ D ในมูลค่าอัตราส่วน 25% เท่า ๆ กันรวมกันเป็น 100% และตั้งให้ Rebalance ทุก ๆ 24 ชั่วโมง

เมื่อเวลาผ่านไปครบ 24 ชั่วโมง มูลค่าของแต่ละ Asset เปลี่ยนไปเป็น A 20% B 30% C 23% และ D 27% สิ่งที่ Rebalancing ทำคือนำ Asset B และ D ไปขาย และนำเงินที่ได้ไปซื้อ Asset A และ C เพื่อให้มูลค่าของทุก Asset กลับมาที่ 25% เท่ากันอีกครั้ง

ในทางกลับกัน Threshold จะเป็นรูปแบบ Rebalancing ตามเปอร์เซ็นของ Asset ที่เปลี่ยนไป หากเรามี Asset อยู่ 4 เหรียญได้แก่ A B C และ D ในมูลค่าอัตราส่วน 25% เท่า ๆ กันรวมกันเป็น 100% และตั้งให้ Rebalance ตาม Threshold +-5%

การใช้วิธี Threshold จะเป็นตัวบอกว่าเท่าไหร่ ถึงจะเป็นว่าควรทำ Rebalance และไม่ใช้เงื่อนไขด้านเวลาว่าเมื่อไหร่อย่างเช่นตัวอย่างแรกของ Periodic-based

การ Rebalancing Portfolio สามารถเอาชนะตลาดได้อย่างไร

เมื่อคุณเริ่มสร้างพอร์ตในการลงทุนสินทรัพย์ดิจิทัล คุณควรที่จะมีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการกับสินทรัพย์เหล่านี้ รวมถึงหลักการกระจายความเสี่ยงในการลงทุนในหมวดหมู่หรือ Asset Allocation ที่ประกอบด้วย Governance Token Altcoin Stable Coin เป็นต้น

 

นอกจากนี้การถือครองสินทรัพย์ที่มีความหลากหลายในมุมของ ความเสี่ยง รูปแบบการลงทุน และลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างกัน คือ Diversification ของพอร์ตจะช่วยยกระดับไม่ให้ขาดทุนในทุกตัวที่ถืออยู่

 

ยกตัวอย่างเช่น BTC หรือ Bitcoin เป็นสินทรัพย์ที่ได้รับการยอมรับเหมือนเป็นเสาหลักของตลาดคริปโต เสี่ยงปานกลาง หรืออย่าง Doge Coin เป็นสินทรัพย์ที่ผันผวนตามกระแสของตลาดค่อนข้างมาก ความเสี่ยงที่ตามมาก็สูงมากเช่นกัน

ภาพถัดไปด้านล่างนี้เป็นตัวอย่างสถานการณ์ของการใช้งานในรีพอร์ต Rebalancing Portfolio เรียบเรียงโดย Michael McCarty – ผู้ก่อตั้ง Shrimpy

นี่เป็นหนึงในตัวอย่างของการจัดพอร์ตรูปแบบการกระจายให้สินทรัพย์มีปริมาณเท่า ๆ กันและใช้หลักการทำ Rebalancing จาก 1 ชั่วโมง 1 วัน 1 สัปดาห์ และ 1 เดือน เปรียบกับการ Hold ไว้เฉย ๆ แสดงผลให้เห็นผลตอบแทนจากการถือไว้ HODL ที่ $40K และ Rebalance ทุก 1 ชั่วโมงผลตอบแทนที่ $123K (ทุนเริ่มต้น $5,000 ระยะเวลา 1 ปี)

สถานการณ์ที่พบได้บ่อยในการทำ Rebalance

⦿ Sideway Movement – สถานการณ์ช่วง Sideway เป็นช่วงที่กินระยะเวลานานที่สุด โดยในช่วงเวลานี้ราคามักมีความผันผวนน้อย และราคาค่อนข้างคงที่ หรือเคลื่อนไหวในกรอบแคบ ๆ

⦿  Pump and Dump  – Pump and Dump – สถานการณ์ช่วง Pump and Dump เป็นช่วงที่มีการเพิ่มขึ้นของราคาอย่างรวดเร็ว และไม่นานราคาก็ลดลงมากลับมาอยู่จุดเดิม หรือการปั่นราคาเพื่อทุบนั่นเอง

pump & dump opportunity

⦿ Flash Crash and Recover – สถานการณ์ช่วง Flash Crash and Recover เป็นช่วงที่ราคาลดลงอย่างรวดเร็ว และไม่นานราคาก็กลับขึ้นไปที่จุดเดิม หรือหลุมนั่นเอง

การคาดเดาและหลักความจริงที่สามารถรับมือได้

เราไม่สามารถกำหนดระยะเวลาหรือคาดเดาให้ราคาของแต่ละเหรียญขึ้นหรือลงตามความคิดได้ แต่เราสามารถตั้งรับกับสถานการณ์เพื่อลดระดับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นได้ให้เป็นโอกาสในการเทรด

 

หากนึกไม่ออกว่าสถานการณ์มาในรูปแบบไหน ตัวอย่างที่ใกล้ตัวมากที่พบได้บ่อยที่สุดคือเมื่อคุณไม่รู้ว่าจะหยุดเพื่อทำกำไรเมื่อไหร่นั่นเอง (Stop loss and profit)

 

การชนะตลาดคือการที่เราสามารถสร้างผลกำไรได้ไม่ว่าจะเป็นตลาด คริปโต ฟอเร็กซ์ หรือ หุ้นได้ เป็นที่เข้าใจกันดีว่าเป็นเรื่องยากหากไม่ได้ศึกษาวิธีการหรือกลยุทธ์ที่ใช้งานได้จริง

Factor 2: จึงเป็นที่มาของการปรับสมดุลพอร์ตโฟลิโอโดยการขายกำไรเพื่อซื้อคืนสิ่งที่ขาดทุนภายในพอร์ตหรือก็คือการจัดพอร์ตนั่นเอง  

นักลงทุนส่วนมากอาจมองหาวิธีการชนะตลาดช่องทางอื่นเช่นการทำกำไรในปริมาณมาก ๆ สำหรับสินทรัพย์เดี่ยวเป็นต้น

 

พอร์ตโฟลิโอที่มีความหลากหลายสูงจะนำไปสู่ผลตอบแทนเฉลี่ยมากกว่าพอร์ตโฟลิโอแบบเดี่ยวหากใช้การปรับสมดุลนี้ ดังนั้นสินทรัพย์อื่น ๆ ที่ไม่ได้รับความนิยมก็สามารถสร้างสมดุลให้กับพอร์ตได้เช่นกัน

Factor 3: จากข้างต้นที่กล่าวมานั้น การเตรียมตัวและการใช้กลยุทธ์เพียงเล็กน้อยจะช่วยในการสร้างพอร์ตโฟลิโอที่เหมาะสมกับความเสี่ยงของคุณ

และยังเตรียมความพร้อมสำหรับการรับความเสี่ยงต่อสภาพตลาดที่มีความผันผวนได้ดียิ่งขึ้น

ส่งท้าย

1. การจัดการความเสี่ยง

2. โอกาสในการชนะตลาด

3. การกระจ่ายความเสี่ยงเพื่อรองรับสถานการณ์ความผันผวน

เป็นปัจจัยสำคัญในการใช้ Rebalancing Strategy เพื่อการเทรดคริปโตที่เห็นผลและมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น

Thank you for your interest to invest with Definix!
Check out these channels for the latest update from SIX Network.

Stay tuned with us on these channels.

Napathsorn Unchit
Napathsorn Unchit

Passionate about financial world and is an inverstor too! Giving out news update and blog post every month.
Visit us at SIX Network for more.

Related Posts

Yield Farming 101: The Guide Book To Farm On DeFi Platform

Yield Farming 101: The guide book to farm on DeFi platform.

DeFi

Table of Contents

How are DeFi and Cryptocurrency different?

In a simple comparison, cryptocurrency is an encrypted digital currency used as a medium of exchange wherein each currency has a storage of their own ledger. Similar use case as in any real world currency such as Dollar, Baht, Won, Yen, Euro, etc.

 

DeFi is similar, not equivalent to, bank but all financial activities can be executed here using code encryption of a smart contract to run the system of deposit, transferring, withdrawal of a cryptocurrency and more.

 

What is DeFi?

 

DeFi or Decentralized Finance is a space in the blockchain ecosystem acting as their own “bank”. Providing services such as Exchange(Swap), Lending, Trading, Fund, and other similar financial products served from financial institutions would have.

 

The only thing different in DeFi from a traditional bank is it doesn’t need any intermediary source to run instead every work is done on a smart contract written on a computerized technology, working for a full peer-to-peer function.



The Beginning of Decentralized Finance

 

We’re rolling back to the start of the first cryptocurrency in the world when Satoshi Nkamoto created Bitcoin in 2013. A young Russian genius Vitalik Buterin, one of the Bitcoin development team, branched out to develop the crypto and blockchain system and named it Ethereum.

 

Ethereum has a clear distinguishing highlight from Bitcoin is that Ethereum comes with Smart Contracts. This contract will only work and execute action if it is triggered with the correct source and every written code matches. 



Many developers have been building on top of Ethereum Chain widely because of Ethereum generosity of allowing them to use the space for free. It wasn’t popular at the start due to many still don’t having ideas in which areas to use. Time has passed and development of the blockchain has been explored more entering DApp era or Decentralized Application in order. 

 

The first DeFi platform that emerged on Ethereum chain and was so successful that it served as a model for many DeFi today is Compound DeFi, a lending platform that offers digital asset lending services similar to real-world banking systems.

 

Compound DeFi work is simple, users can deposit any coins and take interest as a percentage based on the amount deposited. The coins deposited will be gathered in the pool for users who would like to make a loan. The payable interest will be collected with the return received from the deposit will be at 10 – 100% per year, which may not be very high. But it’s worth more than depositing in a bank anyway.



Origin of Yield Farming

The success of Compound DeFi has made an impact that many more DeFi platforms are starting to mushroom. Competitive market has started at this point. Many platforms are trying to draw attention from users and DeFi platforms have released Governance Token for their own such as Comp from Compound DeFi, Aave Token from AAVE, MakerDao Tokkem, and more rewarding for those depositing coins to the platform.

 

Governance Token is created for the use in the DeFi ecosystem, such as the right for voting, modify gas fee, or add a new pair of coins to the system, in addition to holding a token to get special privileges. More platforms include using the token for a lucky draw, to buy NFTs which help improve the use of it and worth more according to the demand. 

 

It takes along the usability of governance token making it more popular until the birth of Decentralized Exchange or DEX, a new form of DeFi.

 

Many of you are probably already familiar with Binance, Bitkub, Coineone, or Bittrex. This type of platform is a Centralized Exchange (CEX) that allows investors to set prices to trade their coins through the platform.

 

But Decentralized Exchange will not be able to set prices to trade like CEX. Instead, the AMM system is used to calculate the price.

 

It is true that being a Decentralized Exchange must get ready for a higher traffic which means having good liquidity to supply the demand. Depositing cryptocurrencies for the platform is known as Liquidity Providing which piles up in a Liquidity Pool. 

Hence that you are coming nearer to what is called Yield Farming. Where a liquidity provider will receive Liquidity Provider Token (LP Token) to farm for even more profit to gain interest in governance token of the platform.

Choosing High Security Farm

There are countless DeFis out there today, both good DeFi and DeFi made to defraud investors. Therefore, choosing a DeFi platform to invest in is very important. We will use these 10 signs to make a decision. If it passes 6-7 out of 10, you can be confident that it’s a safe DeFi.

 

  1. 1. Audited by trusting auditors such as CertiK 
  2. 2. Transparency of the developer team or the ownership of the project is announced publicly with financial or investment experience. 
  3. 3. TVL exceeded 50 million dollars.
  4. 4. Operating no more than 3 months with no hacking history would be a plus.
  5. 5. Future of the Road Map is mapped out clearly.
  6. 6. Corporate team with trustworthy partnership.
  7. 7. Tokens are listed on well known exchanges such as Coinbase Binance for instance.
  8. 8. Smart Contract safeguard is open 24 hours such as the CertiK Skynet.
  9. 9. Governance Token can be found on Coinmarketcap or Coingecko is a good indicator.
  10. 10. Social space for the community must have significant numbers of members.

Token Paris for Farm

 

Stablecoin: Lower rate of fluctuation of the coin and Impermanent Loss, trade out with a lower return. The common pairs are USDT-BUSD KUSDT-DAI where APR lies around 10-60%.

 

Stablecoin – Altcoin: Medium rate of fluctuation with more return than the stablecoin. The common pair is BTC-BUSD where APR lies around 100-1000% depending on the market.


Altcoin – Altcoin: High risk exposure to fluctuation with promising returns such as BTC-BNB, APR lies around 100-1000% depending on the market situation.

Governance Token: Users can pair up Altcoin or Stablecoin with it with a higher return rate, but the impact from the market might affect the price as well.

Risks in Yield Farming

  1. 1.Rug Pull

Rug Pull is an analogy like we stand on a rug and then was pulled out causing him to fall unexpectedly. The owner himself took all the coins on the platform by writing a smart contract to create a loophole in the Rug Pull in the first place.

  1.  
  2. 2. Exit Scam

Exit Scam is where the owner leaves the project or no further development due to many reasons such as unfixed problems. The recent incident happened to Merlin, the announcement to end the development resulted in DeFi’s governance token dropping quickly, and the Exit Scam may also include a Rug Pull in some other cases.

  1.  
  2. 3. Hack

Being hacked is a non-intentional act of the owner. But someone outside can hack the smart contract code to fix something, since all source code on DeFi must be public. If the code written contains bugs or a small loophole it can be hacked. For example, the Icecream platform was hacked by a hacker to change the ownership to himself and mint more coins before selling and collecting other coins in this case.

  1.  
  2. 4. Decrease in value

Another big issue many overlook because they pay attention to APR and APY. The token can have a decrease in their value. Especially when it comes to pairs with high APR, such as governance token, there is a high probability of falling.

  1.  
  2. 5. Impermanent Loss

Farming users will eventually face impermanent loss or profit loss when there’s an involvement of coin pairs. For example SIX-BNB the deposit value was $1000 by holding individually one might gain whole profiting when the coin goes up. By farming in a pair it might lose its values due to AMM calculation creating divergence between price of the asset within the liquidity pool.

 

6. Hacked Wallet or Seed Phrase

The important part which requires high responsibility of the users to keep in mind and keep it securely is the decentralized wallet such as MetaMask, Safepal, Kaikas, or D’cent and more.

Usually people are hacked from the phishing action of a seed phrase or being hacked on a computer due to saving a file for their seed phrase.

  1.  
  2. 7. Phishing Scam

This pattern is an alternative for hacking by deceiving the victim into being trapped such as opening a source to fake MetaMask browser. Pretending to giving out a link claiming user will receive a special price, but losing all the assets from the wallet.

  1.  
  2. 8. Wrong Transaction

This classix human error causing a huge amount of loss by transferring to the wrong final address such as to the wrong person or to the token address, burning it without any way to retrieve.

DeFi is like the open sea, a new waters full of opportunities for everyone to step into it. 

But there is always a greater risk as well as big opportunities. The risk from users’ end can be reduced with our caution, but external risk factors such as the closing of the platform or hacking is out of our control. Therefore, choosing a reliable farm and safety is very important.

 

When it comes to security, Definix itself is the first choice most investors trust as Definix has been audited by world-class auditor CertiK and launched Certik Skynet, a 24/7 smart contract monitoring system. Plus, if something goes wrong, CertiK Shield will be compensating the insurance issuer.

Thank you for your interest to invest with Definix!
Check out these channels for the latest update from SIX Network.

Stay tuned with us on these channels.

Napathsorn Unchit
Napathsorn Unchit

Passionate about financial world and is an inverstor too! Giving out news update and blog post every month.
Visit us at SIX Network for more.

Related Posts

Yield Farming 101 : คู่มือเริ่มต้นการทำฟาร์มบนแพลตฟอร์ม DeFi

กฎในการปฏิบัติตามง่ายๆเพื่อจัดการความเสี่ยงในโลกของ Crypto

DeFi

Table of Contents

DeFi กับ Cryptocurrency ต่างกันยังไง?

ถ้าเปรียบเทียบง่าย ๆ  Cryptocurrency ก็เหมือนกับสกุลเงินต่าง ๆ ในโลกจริง เช่น บาท วอน ดอลล่า
ส่วน DeFi ก็จะเหมือนกับธนาคาร หรือสภาบันการเงินต่าง ๆ ที่ให้บริการทั้ง กู้-ยืม ฝาก-ถอนเงิน และแลกเปลี่ยนเงินแต่ละสกุลกัน แต่ต่างกันตรงที่ DeFi ไม่จำเป็นต้องมีตัวกลาง ไม่ต้องเปิดสาขา ทุกอย่างอย่างอัตโนมัติด้วยโค้ดที่เขียนไว้ 

 

DeFi คืออะไร?
DeFi หรือ Decentralize Finance คือระบบการเงินแบบกระจายศูนย์ ซึ่งเป็นระบบการเงินรูปแบบใหม่ ที่ไม่มีตัวกลางมาควบคุมเหมือนกับระบบธนาคาร โดยทุกอย่างที่ run บน DeFi เป็นระบบอัตโนมัติทั้งหมด โดยใช้โค้ด Smart contract ที่อยู่บน Blockchain ในการควบคุมการทำงาน
.
ซึ่งนี่ทำให้แพลตฟอร์มที่เป็น Decentralize Finance ไม่มีค่าใช้จ่ายในการเปิดสาขา รวมทั้งจ้างพนักงานมาเพื่อดำเนินกิจการด้วย ดังนั้นด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่า Centralize Finance อย่างธนาคารมาก ๆ จึงทำให้ผลตอบแทนจากการฝากเงินไว้กับ DeFi สูงกว่านั่นเอง

กำเนิด Decentralize Finance (DeFi)
ต้องย้อนกลับไปในยุคหลังจาก Satoshi Nakamoto สร้าง Bitcoin ขึ้นมา
.
ในปี 2013 ได้มีเด็กหนุ่มอัจฉริยะชาวรัสเซีย ชื่อว่า Vitalik Buterin ซึ่งเป็นหนึ่งในทีมที่พัฒนา Bitcoin ได้แยกตัวออกมาเพื่อพัฒนาคริปโตและระบบ Blockchain และได้ตั้งชื่อว่า Ethereum
.
โดยจุดเด่นของ Ethereum ที่ทำให้ต่างจาก Bitcoin อย่างชัดเจนก็คือ Ethereum มาพร้อมกับ Smart Contract หรือสัญญาอัจฉริยะ ที่สามารถเขียนเงื่อนไขลงไปในสัญญา ถ้าทำตามสัญญาได้ครบเงื่อนไขก็ได้บางอย่างตามเงื่อนไขเป็นการตอบแทน ซึ่งระบบ Smart Contract นี้สามารถเอาไปต่อยอดได้หลากหลายมาก เช่นการซื้อสินค้าออนไลน์ การกู้ยืมเงิน การแลกเปลี่ยนคริปโต เป็นต้น
.
โดย Ethereum ก็ได้เปิดให้นักพัฒนาทุกคนสามารถนำระบบ Smart Contract นี้ไปใช้ได้ฟรี ๆ โดยสามารถสร้างอะไรก็ได้บน Ethereum Chain ซึ่งในตอนแรกก็ยังไม่ได้เป็นที่นิยมมากนัก เนื่องจากนักพัฒนาหลาย ๆ คนยังไม่ทราบว่าจะนำไปใช้ในด้านไหนได้บ้าง แต่พอเริ่มมีคนทำสำเร็จ ก็เริ่มมีคนทำตามมากขึ้นเรื่อย ๆ จนเริ่มเข้าสู่ยุคสมัยของ DApp หรือ Decentralize Application นั่นเอง
.
โดยแพลตฟอร์ม DeFi แรกที่เกิดขึ้นมาบน Ethereum chain และประสบความสำเร็จมาก ๆ จนเป็นต้นแบบให้เกิดหลาย ๆ DeFi ในปัจจุบันก็คือ Compound DeFi ประเภท Lending ที่ให้บริการกู้ยืมสินทรัพย์ดิจิทัล คล้าย ๆ กับระบบธนาคารในโลกจริง
.
Compound จะเปิดให้ใครก็ตามสามารถนำเหรียญมาฝากไว้กับแพลตฟอร์มได้ และจะจ่ายดอกเบี้ยให้เป็นเปอร์เซ็นตามจำนวนที่นำไปฝาก โดย Compound จะเอาเงินที่ฝากมากองรวมกันไว้ใน pool และเมื่อมีคนมากู้ก็จะดึงเงินในกองนั้นออกไป แต่จะมีดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายสูงกว่าผู้ที่นำเหรียญมาฝาก ซึ่งผลตอบแทนที่ได้จากการฝากจะอยู่ที่ 10 – 100% ต่อปี ซึ่งอาจจะไม่ได้สูงมากนัก แต่ก็คุ้มกว่าฝากในธนาคารอยู่ดี

กำเนิด Yield Farming

เมื่อ Compound ประสบความสำเร็จทำให้เกิดแพลตฟอร์ม DeFi ใหม่ ๆ ขึ้นมามากมาย ดังนั้นเมื่อคู่แข่งมากขึ้น แพลตฟอร์มต่าง ๆ เลย พยายามหาวิธีให้ดึงลูกค้าให้มาใช้แพลตฟอร์มมากที่สุด ดังนั้นบาง DeFi จึงได้ออก Governance Token ที่เป็นเหรียญประจำแพลตฟอร์มขึ้นมา เช่น Comp เหรียญประจำ Compound, AAVE เหรียญประจำ Aave, MKR เหรียญประจำ MakerDao เป็นต้น เพิ่มให้เป็น Reward นอกเหนือจากที่ได้จากการฝากเหรียญด้วย
.
ซึ่ง Governance Token นี้จะเป็นเหรียญที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ใน Ecosystem ของ DeFi นั้นเอง เช่นการโหวตเเพื่อปรับเปลี่ยน Gas fee เพิ่มคู่เหรียญ หรืออะไรก็ตามในแพลตฟอร์ม ตลอดจนการถือไว้จำนวนหนึ่งเพื่อได้รับสิทธิพิเศษต่าง ๆ เช่นลดค่าธรรมเนียม นำไปลุ้นโชคบนแพลตฟอร์ม ซื้อ NFT เป็นต้น ดังนั้นเมื่อมีความต้องการเหรียญมากขึ้น จากเหรียญที่ถูกสร้างขึ้นมาลอย ๆ ไม่ได้มีมูลค่า ก็มีมูลค่ามากขึ้นตามความต้องการด้วย
.
ต่อมาเมื่อ Governance Token ได้รับความนิยมมากขึ้น ก็ได้เกิดแพลตฟอร์ม DeFi ประเภทใหม่ขึ้นมา เรียกว่า Decentralize Exchange หรือ DEX นั่นเอง
.
ซึ่งหลาย ๆ คนน่าจะรู้จักกับ Binance หรือ Bitkub อยู่แล้ว แพลตฟอร์มประเภทนี้เป็น Centralized Exchange(CEX) ที่เปิดให้นักลงทุนสามารถตั้งราคาเพื่อเทรดเหรียญกันได้ผ่านแพลตฟอร์ม แต่ Decentralized Exchange จะไม่สามารถตั้งราคาเพื่อซื้อขายได้เหมือน CEX แต่จะใช้ระบบ AMM ในการคำนวณราคาแทน
.
แน่นอนว่าการเป็น Decentralized Exchange จะต้องมีเหรียญที่อยู่ในแพลตฟอร์มมากพอเพื่อให้เกิดสภาพคล่องที่ดี ดังนั้นแพลตฟอร์มประเภทนี้จึงเปิดให้คนนำเหรียญมาฝากไว้กับแพลตฟอร์ม และมากองไว้รวมกันเรียกว่า Liquidity Pool ซึ่งผู้ที่นำมาฝากจะได้ LP มา คล้าย ๆ กับตั๋วเราสามารถนำไปแลกกับเป็นเหรียญที่เราฝากไว้ได้ตลอดเวลา โดยเราสามารถนำตั๋ว LP นั้นไปลองในฟาร์มเพื่อรับผลตอบแทนเป็น Governance Token ของ DEX นั้นได้ ซึ่งสิ่งนี้เองมีชื่อเรียกว่า Yield Farming 

 

เลือกฟาร์มยังไงให้ปลอดภัย 


1.มี Audit จากบริษัทที่น่าเชื่อถือ เช่น Certik 

2.ทีมพัฒนาและเจ้าของโปรเจค มีตัวตนอยู่จริง และเป็นคนมีชื่อเสียง หรือประสบการณ์เกี่ยวกับการเงินการลงทุน

3.TVL สูงกว่า 50 ล้านดอลล่า

4.ระยะเวลาในการเปิดควรมากกว่า 3 เดือนและยิ่งไม่เคยมีประวัติโดนแฮ็กยิ่งดี

5.มีแผน Road map ชัดเจน อ่านแล้วมองภาพในอนาคตออก

6.มีนักลงทุน/บริษัทใหญ่ ๆ สนับสนุนแพลตฟอร์ม

7.เหรียญประจำแพลตฟอร์มสามารถ list บนเว็บเทรดดัง ๆ ได้ เช่น Binance Coinbase

8.มีการตรวจสอบโค้ด Smart contract 24 ชม. เช่น Certik Skynet

9.เหรียญ Governance เป็นเหรียญที่มีอยู่ใน Coinmarketcap หรือ Coingecko ยิ่งมีอันดับด้วยยิ่งดี

10.คอมมูนิตี้ทั้ง Facebook Twitter Telegram ควรมีสมาชิกหรือผู้ติดตามหลักพันขึ้นไป

คู่เหรียญฟาร์ม

 

คู่ Stablecoin : ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาเหรียญและ Impermanant Loss ต่ำ แต่ผลตอบแทนก็ไม่มากเท่าคู่อื่น เช่น USDT-BUSD KUSDT-DAI เป็นต้น โดย APR จะอยู่ประมาณ 10-60%

 

คู่ Stablecoin – Altcoin : โดนความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาแค่เหรียญเดียว แต่ผลตอบแทนดีกว่าคู่ Stablecoin เช่น BTC-BUSD เป็นต้น โดย APR จะอยู่ประมาณ 100-1000% หรืออาจจะมากกว่านั้นขึ้นอยู่กับแต่ละฟาร์ม

 

คู่ Altcoin – Altcoin : โดนความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาทั้งสองเหรียญ แต่ผลตอบแทนดีกว่าคู่ Stablecoin เช่น BTC-BNB เป็นต้น โดย APR จะอยู่ประมาณ 100-1000% หรืออาจจะมากกว่านั้นขึ้นอยู่กับแต่ละฟาร์ม แนะนำให้เล่นคู่นี้ช่วงตลาดขาขึ้นจะปลอดภัยกว่า

คู่ Governance token : เป็นการนำ Altcoin หรือ Stablecoin มาฟาร์มคู่กับเหรียญประจำ DeFi นั้น ซึ่งแบบนี้จะได้ APR สูงที่สุด แต่มีความเสี่ยงที่เหรียญ Gov จะราคาลงอย่างรวดเร็วอยู่ด้วย



ความเสี่ยงในการทำ Yield Farming

1.Rug Pull
Rug Pull หรือ การดึงพรมเป็นการเปรียบเทียบเหมือนเรายืนอยู่บนพรม แล้วโดนดึงออกทำให้ล้มแบบไม่ได้ตั้งตัวมาก่อน โดยเจ้าของเองเป็นคนเอาเหรียญทั้งหมดที่อยู่บนแพลตฟอร์มไป โดยการเขียน Smart Contract ให้เกิดช่องโหว่ในการ Rug Pull ไว้แต่แรก

2.Exit Scam
Exit Scam คือการที่เจ้าของทิ้งโปรเจค หรือไม่พัฒนาต่อแล้ว อาจจะเพราะปัญหาอะไรบางอย่าง หรือได้ประโยชน์จนพอใจแล้ว เหมือนที่เพิ่งเกิดกับ Merlin ไปล่าสุด โดยการประกาศว่าจะยุติพัฒนาจะทำห้เหรียญ Governance Token ของ DeFi นั้นตกลงอย่างรวดเร็ว ซึ่ง Exit Scam ก็อาจจะมีการ Rug Pull ร่วมด้วยก็ได้

3.โดน Hack
การโดน Hack เป็นการกระทำที่ไม่เกิดจากความตั้งใจของเจ้าของ แต่มีคนข้างนอกแฮ็กโค้ด Smart contract เข้ามาแก้ไขบางอย่างได้ เนื่องจาก Source Code ทุกอย่างบน DeFi นั้นจะต้องเปิดเป็น Public หมด ถ้าโค้ดที่เขียนมีบัค หรือช่องโหว่เพียงเล็กน้อย ก็สามารถโดน Hack ได้แล้ว ยกตัวอย่างเช่น Icecream โดน Hacker สั่งเปลี่ยน Owner เป็นตัวเอง แล้ว mint เหรียญขึ้นมาเพิ่มจำนวนมาก ก่อนนำไปขาย แล้วเก็บเหรียญอื่นโอนออกไป

 

4.มูลค่าเหรียญลดลง
อันนี้เป็นประเด็นใหญ่ที่หลาย ๆ คนมองข้ามเพราะไปสนใจแต่ APR และ APY จนลืมคิดไปว่าเหรียญที่นำไปฟาร์มมูลค่าลดลงได้ ซึ่งต่างกับการฝากเงินในธนาคาร ที่จำนวนเงินของเราจะไม่ลดลง โดยเฉพาะการลงในคู่เหรียญที่มี APR สูง ๆ เช่น Governance Token ซึ่งมีโอกาสที่จะตกได้สูง ดังนั้นสิ่งที่ฟาร์มมาได้อาจจะไม่คุ้มกับการขาดทุนจากการซื้อ Governance Token ก็ได้ต้องคิดให้ดี

5.Impermanent Loss
Impermanent Loss หรือการขาดทุนกำไรแบบชั่วคราว นั้นเกิดจากการที่เรานำคู่เหรียญสองเหรียญไปลงใน Liquidity Pool และหลังจากนั้นเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของราคาขึ้น ระบบ AMM ที่อยู่ในฟาร์มจะทำการ Rebalance คู่นั้นให้กลับมามูลค่าเท่ากันโดยอัตโนมัติ ซึ่งระบบนี้ทำให้มูลค่ารวมของทั้งสองเหรียญน้อยลงกว่าการถือเหรียญไว้เฉย ๆ โดยไม่เอาลงฟาร์ม


6.โดนแฮ็ก Wallet หรือ Seed Phase
ในการเล่น DeFi นั้นสิ่งหนึ่งที่จำเป็นต้องมีเลยคือ Wallet เช่น Metamask Safepal Kaikas D’cent และอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งถ้าเป็น Wallet ที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่ก็จะมีความปลอดภัยที่สูงมากอยู่แล้ว แต่บางคนที่โดนแฮ็กนั้นไม่ได้มาจาก wallet ที่ไม่ปลอดภัย แต่มาจากการโดนแฮ็ก Seed phase ต่างหาก หลาย ๆ ชอบเก็บ Seed ไว้ในโซเชียลมีเดียร์บ้าง หรือแคปรูปเก็บไว้ ใส่ไฟล์ไว้ในคอม ซึ่งสิ่งเหล่านี้สามารถถูกแฮ็กได้ทั้งนั้น ดังนั้นสิ่งที่ปลอดภัยก็คือการไม่นำ Seed เราไปไว้บนอิเล็กทรอนิกส์ เช่นจดใส่กระดาษแล้วใส่เซฟไว้เป็นต้น

7.Phishing Scam
รูปแบบนี้ไม่ใช่การแฮ็ก แต่เป็นการหลอกเหยื่อให้มาติดกับเอง เช่นการทำ Metamask ปลอมขึ้นมา พอคนนำ Seed Phase มาใส่โจรก็ได้รหัสเราไป นำไปเข้ากระเป๋าจริงบและโอนเหรียญออกไปหมด หรือการหลอกว่าถ้าโอนมาที่ลิงค์นี้จะได้อะไรพิเศษจนคนโอนเหรียญไปให้ Scamer ก็มี

8.โอนผิด
ปัญหาสุดคลาสสิคจาก Human Error ที่หลาย ๆ คนน่าจะเคยเจอ เช่นจะโอนไปที่อีก wallet นึงของเรา แต่ก๊อปปี้ขาดตัวท้ายไปตัวนึง หรือไปก็อป Address เหรียญมาใส่ ซึ่งแน่นอนว่าในโลก Decentralize โอนผิดแล้วไม่สามารถตึงเงินกลับมาได้ ทุกคนต้องดูและเงินตัวเอง ตั้งสติก่อนโอน

DeFi นั้นเปรียบเสมือนกับ Blue ocean น่านน้ำใหม่ที่เต็มไปด้วยโอกาสมากมายให้กับทุก ๆ คนที่ก้าวเข้ามาในที่แห่งนี้ แต่ในโลก Decentralize ถึงแม้จะมีโอกาสทำเงินได้มาก แต่ความเสี่ยงที่มีก็มากขึ้นเช่นกัน ทั้งจากตัวเราเอง และจากปัจจัยภายนอก

ซึ่งความเสี่ยงที่เกิดจากเราเองสามารถลดได้ถ้าเรามีสติและใส่ใจในความปลอดภัยของ Wallet อย่างสม่ำเสมอ แต่กับปัจจัยภายนอกเช่น ฟาร์มที่เราไปลงทุนปิดหรือโดนแฮ็ก เป็นเรื่องที่เราควบคุมไม่ได้เลย ดังนั้นการเลือกฟาร์มที่น่าเชื่อถือ และปลอดภัยก็เป็นสิ่งสำคัญมาก ๆ

โดยถ้าพูดถึงความปลอดภัย Definix เองเป็นตัวเลือกแรก ๆ ที่นักลงทุนส่วนใหญ่ให้ความเชื่อมั่น เนื่องจาก Definix เองผ่านการ Audit อย่าง Certik ที่เป็น Auditor ระดับโลก และยังมีการเปิด Certik Skynet ระบบตรวจสอบ Smart contract แบบ 24 ชม. แถมถ้ามีอะไรผิดพลาดเรายังมีเงินประกันจาก Certik Shield ชดเชยให้กับนักลงทุนด้วย ดังนั้นมั่นใจได้เลยว่าเงินที่ลงทุนกับ Definix นั้นจะถูกเก็บไว้อย่างดีแน่นอน

 

Thank you for your interest to invest with Definix!
Check out these channels for the latest update from SIX Network.

Stay tuned with us on these channels.

Napathsorn Unchit
Napathsorn Unchit

Passionate about financial world and is an inverstor too! Giving out news update and blog post every month.
Visit us at SIX Network for more.

Related Posts

กฎในการปฏิบัติตามง่ายๆเพื่อจัดการความเสี่ยงในโลกของ Crypto

กฎในการปฏิบัติตามง่ายๆเพื่อจัดการความเสี่ยงในโลกของ Crypto

risk allocation in fund management

การจัดการความเสี่ยงถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของความสำเร็จสำหรับเทรดเดอร์ในทุก ๆ สถานการณ์ของตลาด การสูญเสียเป็นสิ่งที่คุณหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าคุณจะลงทุนมากหรือน้อยก็ตาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับตลาดที่มีความผันผวนสูงเป็นอย่างมาก เช่น ตลาดคริปโทเคอร์เรนซี

Table of Contents

เมื่อปีที่ผ่านมา เราเห็นการเติบโตอย่างมหาศาลของตลาดด้วยผลกำไรที่น่าทึ่งจากเหรียญสกุลเงินดิจิทัลหลัก ๆ ส่วนใหญ่ การเงินแบบกระจายอำนาจ (Decentralized Finance) ดึงดูดความสนในการทำ Yield Farming และการสร้างรายได้แบบ Passive income จากสินทรัพย์คริปโต รวมถึงการช่วยให้ระบบนิเวศทั้งหมดสามารถก้าวข้ามผ่านการเปลี่ยนแปลงของระบบการเงินแบบดั้งเดิมได้

 

หากคริปโทเคอร์เรนซี ยังคงเติบโต ยังคงดึงความน่าสนใจของเหล่าเทรดเดอร์ จึงจำเป็นต้องมีเครื่องมือการบริหารความเสี่ยงขั้นสูงที่เพิ่มผลกำไรสูงสุดให้กับนักลงทุน



ทำความรู้จักประเภทของความเสี่ยง:

● Credit Risk

ความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบโปรเจคต์ของคริปโตส่วนใหญ่เกิดจากการโจรกรรมและการฉ้อโกงในตลาดคริปโต

 

● Legal Risk

เป็นความเสี่ยงของเหตุการณ์ความน่าจะเป็นเชิงลบที่เกิดขึ้นตามกฎข้อบังคับ เช่น การห้ามใช้(แบน)สกุลเงินดิจิทัลในบางพื้นที่หรือประเทศ

 

● Liquidity Risk

ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องที่เทรดเดอร์ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินดังกล่าวให้เป็นเงินสดได้ รวดเร็ว จึงทำให้สูญเสียมูลค่าของเงินนั้น ๆ

 

● Market Risk

ความเสี่ยงทางด้านตลาด หมายถึงโอกาสที่ราคาเหรียญจะขยับขึ้นหรือลงขัดต่อความต้องการหรือไม่ตรงกับแผนที่วางไว้

 

● Operational Risk

ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการคือโอกาสที่เทรดเดอร์ไม่สามารถทำการเทรด ฝาก หรือแม้แต่ถอนเงินจาก Exchange หรือ กระเป๋า Wallet ได้

การจัดการความเสี่ยงสำหรับนักเทรดคริปโทเคอร์เรนซี

มีเหล่านักลงทุนผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาทางการเงินได้ให้วิธีการคิดและกุลวิธีในการเทรดมากมายในการจัดการ Portfolio หรือการจำกัด Margin แต่สิ่งสำคัญที่สุดในการเทรดคือ

 

“ไม่นำตัวเองให้เสี่ยงหากไม่สามารถรับความเสี่ยงจากการสูญเสียนั้นได้”

การจัดการความเสี่ยงจึงสามารถแบ่งออกกว้าง ๆ ได้เป็นสี่ประเภท: อัตราส่วนความเสี่ยง/ผลตอบแทน(Risk/Reward Ratio) การหยุดการขาดทุนและทำกำไร(Stop Loss & Take Profit) การปรับขนาดตำแหน่ง(Position Sizing) และการปรับสมดุลพอร์ตการลงทุน(Rebalancing Portfolio)

 

▸ Risk/Reward Ratio 

Risk คือ ความเสี่ยง

Reward คือ รางวัล

ซึ่งก็คืออัตราส่วนที่ใช้สำหรับการเปรียบเทียบผลตอบแทนการลงทุน ด้วยการจำกัดหรือกระจายความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เรากำหนดไว้ในการเทรด มีคำแนะนำว่าไม่ควรเทรดในอัตราส่วน 1:1 แต่ควรเริ่มจาก 1:1.5 ตามสูตรนี้ R = (ราคาเป้าหมาย – ราคาเข้า) / (ราคาเข้า – Stop Loss) จะช่วยให้คุณรู้ว่าเมื่อใดที่ควรเข้าและเมื่อใดที่ไม่ก่อให้เกิดผลกำไร

 

▸ Stop Loss & Take Profit

คำสั่ง Stop loss คือคำสั่งที่ให้คุณสามารถจัดการกับความเสี่ยง โดยคำสั่ง Stop loss จะทำการยุติ (หยุด) การลงทุนของคุณ เพื่อไม่ให้ขาดทุนของคุณเพิ่มมากขึ้น ซึ่งราคาที่จะ Stop loss คือราคาที่คุณตัดสินใจแล้วว่า การวิเคราะห์ของคุณมาผิดทาง Stop Loss จะกระทำการหยุดและเริ่มเมื่อราคาลงจนถึงระดับที่เหมาะสม ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยคุณจากการเทรดในช่องทางที่ไม่ได้ผลตอบแทนอย่างเหมาะสม การ Take Profit จะช่วยให้คุณออกจากการเทรดก่อนที่ตลาดจะไม่เป็นดั่งที่หวัง

 

▸ Position Sizing

คือการจัดสัดส่วนในการลงทุน กำหนดความเป็นไปได้ของเหรียญหรือโทเค็นนั้น ๆ และจะเป็นการดีที่ไม่นำเงินทั้งหมดของการลงทุนไปกองไว้ที่เดียว เพราะความผันผวนของตลาดสคริปโตเคอร์เรนซี แม้แต่ช่วงที่ตลาดดูเหมือนจะสมบูรณ์ไปทุกอย่างก็ยังสามารถผันผวนและส่งผลให้เกิดความสูญเสียในการลงทุนได้ กลยุทธ์ต่าง ๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่

 

▸ Rebalancing Portfolio

กระบวนการปรับน้ำหนักของพอร์ตสินทรัพย์เรียกว่าการปรับสมดุลใหม่ การปรับสมดุลทำให้เกิดการซื้อหรือขายสินทรัพย์ในพอร์ตโฟลิโอเป็นประจำ เพื่อรักษาระดับการจัดสรรหรือความเสี่ยงของสินทรัพย์เดิมหรือที่ต้องการ

การจัดการความเสี่ยงของคุณเอง

กลยุทธ์ใน การซื้อและการถือ เป็นหนึ่งในกลยุทธ์ที่นักลงทุนมือสมัครเล่นอาจให้ความสนใจจึงนิยมใช้เนื่องจากมีความเสี่ยงต่ำ กล่าวคือการซื้อและถือเหรียญไว้เพื่อรอเวลาที่เหมาะสมในสภาพตลาดเพื่อการขายเกร็งกำไร

ถึงแม่ว่าจะเป็นแนวทางที่ดีและไม่สร้างความเสี่ยงให้กับตัวเองจนเกินไปอย่างไแล้วก็ยังเป็นการปฏิบัติที่ดึงรั้งเหล่านักเทรดในการประสบกับกลยุทธ์ที่น่าตื่นเต้นและสร้างผลประโยชน์ได้มากกว่า

 

ลองลงไปเสี่ยงทำสิ่งใหม่ ๆ บริหารพอร์ตโฟลิโอของคุณให้พร้อม แล้วพบกันอีกครั้งในไม่ช้าเกินรอกับกลยุทธ์ที่คุณสามารถใช้ได้ในช่วงของ Decentralized Fund Management บน Definix

บทความนี้ไม่ใช่คำแนะนำในการลงทุน การลงทุนและการซื้อขายทุกครั้งมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาทำความเข้าใจ ใช้วิจารณญาณของตนเองก่อนทำการตัดสินใจลงทุน

Fund management covering rebalancing

Thank you for your interest to invest with Definix!
Check out these channels for the latest update from SIX Network.

Stay tuned with us on these channels.

Napathsorn Unchit
Napathsorn Unchit

Passionate about financial world and is an inverstor too! Giving out news update and blog post every month.
Visit us at SIX Network for more.

Related Posts

Simple Rules To Follow For Crypto Risk Management

Simple Rules To Follow For Crypto Risk Management

risk allocation in fund management

Risk management is a vital element of success for any trader in any market. Losses are going to be inevitable no matter the size of the capacity you’re trading with or investing in, particularly in extremely volatile markets like cryptocurrencies.

Table of Contents

Last year we saw astronomical growth with remarkable gains from most major coins. Decentralized finance ignited a passion for yield farming and earning an attractive passive income on crypto assets, as well as enabling an entire ecosystem to go through a change of traditional finance.

If the crypto space is to continue to grow and attract and retain the interest of institutional traders, advanced risk-management tools that maximize gains for investors are required.

Knowing The Type of Risk:

● Credit Risk

Risk affecting crypto projects, mostly attributes to theft and fraud in crypto markets.

 

● Legal Risk

Refer to the risk of negative probability events occurring with respect to regulatory rules such as ban of cryptocurrency in specific regions. 

 

● Liquidity Risk

Risk in crypto trading of inability to easily exit a position to convert an entire position, in order to be on the “safer side”.

 

● Market Risk

Market risk refers to the chance of coin prices moving up or down contrary to your desire in an open position.

 

● Operational Risk

Operational risk is the chance that a trader is unable to trade, deposit, or even withdraw money from an exchange or in their crypto wallets.

Risk Management For Cryptocurrency Traders

There are many strategies out there posted by experts in the business, financial consultant, and other researchers a lot lately on how to manage your margin or portfolio wisely. But the ultimate rule for trading is:

“Do not risk more than you can afford to lose”.

It can be broadly categorized into four: Risk/reward ratio, stop loss & take profit, position sizing, and rebalancing portfolio.

▸ Risk/Reward Ratio 

In trading it is recommended to not trade under the ratio of 1:1 and should be starting from 1:1.5. This formula, R = (Target Price – Entry Price) / (Entry Price – Stop Loss), will enable you to know when to enter and when it is unprofitable.

 

▸ Stop Loss & Take Profit

Stop losses is an execution which closes an open position when a price decreases to a specific alignment. Saving you from trading in unprofitable deals. Taking Profits lets you get out of the trade before the market can turn against you.

 

▸ Position Sizing

Is where you position your margin of portfolio by dictating the possibility of coins or tokens that are willing to be bought by traders. It is wise to never invest all of your money in one place. The volatility of the cryptocurrency market means that any trade, even a seemingly perfect trade, can collapse and result in a significant loss. There are strategies involved. Read more.

 

▸ Rebalancing Portfolio

The process of realigning the weightings of an asset portfolio is known as rebalancing. Rebalancing entails buying or selling assets in a portfolio on a regular basis in order to maintain the original or desired level of asset allocation or risk.

 

 

Managing At Your own Risk

The temptation of buy and hold is one of the strategies newcomers will fall to use. Where you invest in a coin and leave the coin untouchable for an extent of a period. This passive strategy is often the simplest way and is associated with less risk. 

However, this approach will never allow you to profit significantly and retain you from exploring fun in crypto experience. Take risk, manage your portfolio, and we will see you next for our upcoming strategy that will apply to help us understand more during the decentralized fund management.

 

This article does not contain investment advice or recommendations. Every investment and trading move involves risk, readers should conduct their own research when making a decision.

Fund management covering rebalancing

Thank you for your interest to invest with Definix!
Check out these channels for the latest update from SIX Network.

Stay tuned with us on these channels.

Napathsorn Unchit
Napathsorn Unchit

Passionate about financial world and is an inverstor too! Giving out news update and blog post every month.
Visit us at SIX Network for more.

Related Posts